September 23, 2017
Totem and Taboo
จากการศึกษาอารยธรรมดึกดําบรรพ์ที่ยังหลงเหลืออยู่เช่นอินเดียนบางเผ่า หรือชาวอบอริจิ้น ที่ยังเป็นวัฒนธรรมดึกดําบรรพ์ ความเป็นจารีตสังคมน้อยมาก ซิคมันด์ ฟรอยด์ มีความเห็นว่า .......
February 26, 2018
เปลี่ยนปมด้อยให้เป็นพลังที่สร้างสรรค์
อัลเฟรด แอดเลอร์ เชื่อว่ามนุษย์ทุกคนมีปมด้อย (Inferiority Complex) ไม่ว่าจะด้วยปมด้อยทางด้านร่างกาย (เช่นความพิการ) หรือเป็นปมด้อยที่เกิดทางสังคมก็ตาม (เช่นชนชั้นวรรณะ หรือความยากจน) ซึ่งปมด้อยนี้เองเป็นพลังผลักดันอันนำไปสู่การเป็นปมเด่นในชีวิต
August 27, 2018
จิตใต้สำนึก ตามแนวทางของ Sigmund Freud
ทฤษฎีจิตวิเคราะห์ของฟรอยด์ได้วิเคราะห์จิตของมนุษย์ออกเป็น 3 ระดับคือ จิตสำนึก (Conscious), จิตกึ่งสำนึก (Pre-Conscious) และ จิตใต้สำนึก (Sub-Conscious)
September 03, 2018
ทฤษฎีศึกสามเส้า ของ Murray Bowen
“ที่ใดก็ตามที่มีคนตั้งแต่ 3 คนขึ้นไป ย่อมมีการเมืองที่นั่น” เมื่อสมาชิกในครอบครัว 2 คนเกิดความบาดหมางทางใจกันขึ้นไม่ทางใดก็ทางหนึ่ง แล้ว A พยายามดึงสมาชิกครอบครัวคนที่ 3 ไปเป็นพวก เพื่อให้สถานะและความรู้สึกของตนเองนั้นมั่นคงมากขึ้น จากนั้นนั้นภาวะสามเส้าก็จะเกิดขึ้น
September 07, 2018
Sigmund Freud โครงสร้างบุคลิกภาพ
ฟรอยด์อธิบายว่าพฤติกรรมต่าง ๆ ของบุคคลที่แสดงออกมานั้นสืบเนื่องมาจากการทำงานของพลังงานทางจิต 3 ส่วน ซึ่งพลังทั้ง 3 ส่วนนี้มีลักษณะเฉพาะตัว
September 07, 2018
Sigmund Freud ความวิตกกังวล
ฟรอยด์เชื่อว่า ความวิตกกังวลเป็นเรื่องที่มนุษย์หลีกหนีไม่พ้น เพราะความปรารถนาของมนุษย์นั้นไม่สามารถได้รับการตอบสนองเสมอไป โดยเขาได้แบ่งความหวาดกังวลออกเป็น 3 ประเภทได้แก่
September 07, 2018
Sigmund Freud Defense Mechanism
ฟรอยด์อธิบายว่ามนุษย์ไม่สามารถหลักหนีความกังวลและความเครียดได้ ภาวะบีบคั้นจิตใจเหล่านี้มนุษย์ไม่พึงปรารถนาจึงพยายามหาทางผ่อนคลาย ซึ่งเป็นหน้าที่ของอีโก้ที่จะต้องเสาะแสวงหาวิธีลดภาวะตึงเครียดนั้น ๆ โดยใช้วิธีการที่เรียกว่า "กลไกการป้องกันตัวเอง"
September 15, 2018
George Kelly การบำบัดจิต
นักบำบัดควรตีความบทบาทของตัวเองอย่างกว้าง ๆ ถ้าผู้ป่วยเห็นว่าการบำบัดมีการปรับเปลี่ยนเล็กน้อยเท่านั้น ผู้บำบัดก็ควรเริ่มจากข้อคิดวงแคบ ๆ เพื่อให้คนไข้เริ่มเห็นความจำเป็นที่จะต้องเปลี่ยนแปลงอย่างจริงจัง
September 15, 2018
George Kelly Personality Development
Kelly คิดว่าการที่คนมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมทำให้เกิดการเติบโตส่วนบุคคล หรือ personal growth โดยที่มนุษย์จะคิดโดยคิดอย่างเฉพาะตัวและเป็นระบบ แล้วจึงใช้ความคิดเหล่านี้ไปคาดการณ์เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นรอบ ๆ ตัว
September 15, 2018
George Kelly: The Fundamental Postulate and Its Corollaries
สมมติฐานขั้นพื้นฐานของทฤษฎีของ Kelly คือ "กระบวนการความคิดของคนถูกวางแนวโดยจิตใตด้วยวิธีที่เขาคาดการณ์เกี่ยวกับเหตุการณ์" เพราะว่ามนุษย์เป็นสิ่งมีชีวิตที่มีการกระทำและมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา
September 15, 2018
George Kelly: คุณลักษณะของ Constructs
ความคิด (Construct) นั้นแบ่งออกเป็น 6 ประเภทได้แก่
September 15, 2018
George Kelly Introduction
สิ่งที่ทำให้ George A. Kelly ต่างจากนักจิตวิทยามนุษยนิยมคนอื่น ๆ ก็คือ Kelly เชื่อมโยงความเป็นมนุษย์เข้ากับวิทยาศาสตร์ Kelly ไม่ได้มองพฤติกรรมทางวิทยาศาสตร์ในฐานะที่ไม่เป็นธรรมชาติ แต่เขาเชื่อว่าธรรมชาติของมนุษย์คือต้องการที่จะ "ทำนาย" และ "ควบคุม" เหตุการณ์ต่าง ๆ ที่ตนเข้าไปเกี่ยวข้องเหมือนที่นักวิทยาศาสตร์ทำ
September 11, 2018
Alfred Adler บุคลิกสี่ประเภท
Adlerได้ใช้วิธีการแบ่งประเภทของคนที่เข้าใจง่ายเกี่ยวกับบุคคลิกที่มีสุขภาพจิตดีและบุคคลิกที่มีสุขภาพจิตไม่ดี เขาจำแนกประเภทของบุคลิกด้วยความลังเลใจ เพราะเขาไม่ได้นึกถึงมนุษย์ในฐานะที่เป็นประเภท
September 11, 2018
Alfred Adler พัฒนาการของวิถีชีวิตที่สร้างสรรค์
ตามความคิดของ Adler บุคคลที่มีสุขภาพจิตที่ดี คือ บุคคลที่พ่อแม่เลี้ยงดูด้วยการให้เกียรติลูกและเข้าใจลูก
September 11, 2018
Alfred Adler รากฐานของโรคประสาท
การพัวพันระหว่างประสบการณ์ในครอบครัวและการตีความของบุคคลนั้นทำให้เกิดเป้าหมายที่ชี้ทางและวิถีชีวิตพิเศษ
September 11, 2018
Alfred Adler ลำดับการเกิด (Birth Order)
dler เชื่อว่าพ่อแม่ปฏิบัติต่อลูกแต่ละคนไม่เหมือนกัน และการปฏิบัติดังกล่าวมีส่วนข้องเกี่ยวกับลำดับการเกิดของลูกในครอบครัวนั้น ๆ
September 07, 2018
Alfred Adler อิทธิพลของพ่อแม่
Adler มีความเชื่อว่าทั้งพ่อและแม่มีบทบาทที่สำคัญมากในการส่งเสริมหรือบั่นทอนการพัฒนาการวิถีชีวิตของลูก พ่อแม่จะต้องฟูมฟักรักลูกทำให้ลูกรู้เรื่องการงาน มิตรภาพ และความรัก
September 07, 2018
Alfred Adler วิถีชีวิตและตัวตนที่สร้างสรรค์
ตามทฤษฎีของ Adler มี 2 ประเด็นซึ่งเกี่ยวโยงกัน ประเด็นแรกคือ วิถีชีวิต The Style of Life แต่เดิมเขาเรียกความคิดนี้ว่า life plan or guiding image
September 07, 2018
Alfred Adler ปมด้อย-ปมเด่น
Adlerได้สังเกตเห็นในขณะที่เป็นแพทย์อยู่ว่าคนพิการมักจะพยายามฝึกฝนตัวเองเป็นอย่างมาก ยกตัวอย่างเช่น เด็กหญิงที่พูดไม่ชัดอาจจะฝึกพูดอย่างหนักจนกระทั่งวันหนึ่งได้เป็นโฆษกระดับชาติ
September 07, 2018
Alfred Adler Creative Evolution and Social Interest
จุดยืนที่สำคัญของAdler คือ สุขภาพจิตที่ดีของคนขึ้นอยู่โดยตรงกับประโยชน์ที่ทำให้แก่ชุมชนในสังคม เขาเห็นว่าเผ่าพันธ์ของมนุษย์จะอยู่ไม่ยืดถ้าสมาชิกในสังคมไม่ช่วยเหลือกัน
September 07, 2018
Alfred Adler หลักการ
จิตวิทยาปัจเจกบุคคคล ในความคิดเห็นของ Adler คือ วิทยาศาสตร์แขนงที่พยายามเข้าใจประสบการณ์และพฤติกรรรมของแต่ละบุคคลในฐานะที่เป็นระบบที่จัดระเบียบดีแล้ว
September 07, 2018
Alfred Adler ประวัติ
Alfred Adler เกิดเมื่อวันที่ 7 กุมภาพันธ์ ค.ศ.1870 ที่ประเทศออสเตรีย ณ กรุงเวียนนา เขาได้รับเลือกเป็นประธานคนแรกของสมาคมจิตวิทยาวิเคราะห์ เป็นนักจิตวิทยาที่ได้รับการยอมรับในยุโรป สหรัฐอเมริกา
September 07, 2018
Sigmund Freud Defense Mechanism
ฟรอยด์อธิบายว่ามนุษย์ไม่สามารถหลักหนีความกังวลและความเครียดได้ ภาวะบีบคั้นจิตใจเหล่านี้มนุษย์ไม่พึงปรารถนาจึงพยายามหาทางผ่อนคลาย ซึ่งเป็นหน้าที่ของอีโก้ที่จะต้องเสาะแสวงหาวิธีลดภาวะตึงเครียดนั้น ๆ โดยใช้วิธีการที่เรียกว่า "กลไกการป้องกันตัวเอง"
September 07, 2018
Sigmund Freud ความวิตกกังวล
ฟรอยด์เชื่อว่า ความวิตกกังวลเป็นเรื่องที่มนุษย์หลีกหนีไม่พ้น เพราะความปรารถนาของมนุษย์นั้นไม่สามารถได้รับการตอบสนองเสมอไป โดยเขาได้แบ่งความหวาดกังวลออกเป็น 3 ประเภทได้แก่
September 07, 2018
Sigmund Freud โครงสร้างบุคลิกภาพ
ฟรอยด์อธิบายว่าพฤติกรรมต่าง ๆ ของบุคคลที่แสดงออกมานั้นสืบเนื่องมาจากการทำงานของพลังงานทางจิต 3 ส่วน ซึ่งพลังทั้ง 3 ส่วนนี้มีลักษณะเฉพาะตัว
September 03, 2018
ทฤษฎีศึกสามเส้า ของ Murray Bowen
“ที่ใดก็ตามที่มีคนตั้งแต่ 3 คนขึ้นไป ย่อมมีการเมืองที่นั่น” เมื่อสมาชิกในครอบครัว 2 คนเกิดความบาดหมางทางใจกันขึ้นไม่ทางใดก็ทางหนึ่ง แล้ว A พยายามดึงสมาชิกครอบครัวคนที่ 3 ไปเป็นพวก เพื่อให้สถานะและความรู้สึกของตนเองนั้นมั่นคงมากขึ้น จากนั้นนั้นภาวะสามเส้าก็จะเกิดขึ้น
August 27, 2018
จิตใต้สำนึก ตามแนวทางของ Sigmund Freud
ทฤษฎีจิตวิเคราะห์ของฟรอยด์ได้วิเคราะห์จิตของมนุษย์ออกเป็น 3 ระดับคือ จิตสำนึก (Conscious), จิตกึ่งสำนึก (Pre-Conscious) และ จิตใต้สำนึก (Sub-Conscious)
February 26, 2018
เปลี่ยนปมด้อยให้เป็นพลังที่สร้างสรรค์
อัลเฟรด แอดเลอร์ เชื่อว่ามนุษย์ทุกคนมีปมด้อย (Inferiority Complex) ไม่ว่าจะด้วยปมด้อยทางด้านร่างกาย (เช่นความพิการ) หรือเป็นปมด้อยที่เกิดทางสังคมก็ตาม (เช่นชนชั้นวรรณะ หรือความยากจน) ซึ่งปมด้อยนี้เองเป็นพลังผลักดันอันนำไปสู่การเป็นปมเด่นในชีวิต
September 23, 2017
Totem and Taboo
จากการศึกษาอารยธรรมดึกดําบรรพ์ที่ยังหลงเหลืออยู่เช่นอินเดียนบางเผ่า หรือชาวอบอริจิ้น ที่ยังเป็นวัฒนธรรมดึกดําบรรพ์ ความเป็นจารีตสังคมน้อยมาก ซิคมันด์ ฟรอยด์ มีความเห็นว่า .......