ห้วงภวังค์ของการสะกดจิต

   


หลักการง่ายๆ มีอยู่ว่า สิ่งใดก็ตามที่เรากำลังเรียนรู้ในขณะที่สมองของเรากำลังลดระดับการทำงานลง 
การเรียนรู้นั้นก็ย่อมมีแนวโน้มที่จะฝังตัวลึกลงในจิตใต้สำนึกได้มากกว่าช่วงเวลาปกติ 
การลดระดับการทำงานลงของสมองนี้เองที่เรียกว่า “ภวังค์” 
สะกดจิต NLP การสะกดจิตคืออะไร Hypnosis และ Hypnotherapy สุขภาพจิต จิตใต้สำนึก การสะกดจิตและสะกดจิตบำบัด เอ็นแอลพี สะกดจิตบำบัด
ดังนั้นการสะกดจิตและห้วงภวังค์จึงเป็นสิ่งที่แยกออกจากกันไม่ได้ 
สะกดจิต NLP การสะกดจิตคืออะไร Hypnosis และ Hypnotherapy สุขภาพจิต จิตใต้สำนึก การสะกดจิตและสะกดจิตบำบัด เอ็นแอลพี สะกดจิตบำบัด
คำว่าภวังค์ (Trance) ความจริงแล้วหมายถึงห้วงขณะหนึ่งของการรับรู้ 
เช่นในขณะที่คุณกำลังอ่านข้อความอยู่นี้ คุณก็กำลังอยู่ในห้วงภวังค์หนึ่ง
หากคุณหยุดกิจกรรมนี้แล้วหันไปทำอย่างอื่นหรือสนใจอย่างอื่นแทน 
นั่นหมายความว่าคุณกำลังออกจากห้วงภวังค์ของการอ่านบทความนี้ แล้วไปสู่อีกห้วงภวังค์หนึ่ง 
สะกดจิต NLP การสะกดจิตคืออะไร Hypnosis และ Hypnotherapy สุขภาพจิต จิตใต้สำนึก การสะกดจิตและสะกดจิตบำบัด เอ็นแอลพี สะกดจิตบำบัด
ดังนั้นแล้วมนุษย์เราจึงอยู่ในห้วงภวังค์ตลอดเวลา จากห้วงหนึ่งก็ไปสู่อีกห้วงหนึ่งอย่างไม่มีวันหยุด
จนกว่าสมองของเขาจะหยุดทำงาน ดังนั้นชีวิตของเราทุกคนจึงประกอบไปด้วยห้วงภวังค์จำนวนมาก
เรียงรายต่อกันไป โดยแต่ละห้วงจะมีความกว้าง ความแคบ ความลึก 
หรือความตื้นที่แตกต่างกันออกไปตามแต่ปัจจัยแวดล้อมต่างๆ 
สะกดจิต NLP การสะกดจิตคืออะไร Hypnosis และ Hypnotherapy สุขภาพจิต จิตใต้สำนึก การสะกดจิตและสะกดจิตบำบัด เอ็นแอลพี สะกดจิตบำบัด
โดยทั่วไประบบประสาทของเราจะต้องตื่นตัวและรับรู้ต่อข้อมูลต่างๆ เป็นจำนวนมาก 
ทั้งที่เป็นภาพ เสียง กลิ่น รส และสัมผัส แต่ในบางสภาวะระบบประสาทของเราจะเริ่มตัด
การรับรู้บางอย่างออกไป โดยจะโฟกัสการรับรู้ไปที่สิ่งใดสิ่งหนึ่งเป็นพิเศษ (เช่นการเหม่อลอย หรือการเข้าสมาธิ) 
สภาวะแบบนี้ก็คือห้วงภวังค์หนึ่งซึ่งอุปมามาลึกกว่าห้วงภวังค์ทั่วไป 
สะกดจิต NLP การสะกดจิตคืออะไร Hypnosis และ Hypnotherapy สุขภาพจิต จิตใต้สำนึก การสะกดจิตและสะกดจิตบำบัด เอ็นแอลพี สะกดจิตบำบัด
ห้วงภวังค์แบบนี้สามารถนำเอามาใช้ประโยชน์ในการสะกดจิตได้ เพราะการทำงานของจิตรู้สำนึกคลายตัวลง
จึงเปิดโอกาสให้สิ่งต่างๆ ที่รับรู้ในขณะนั้นลัดตรงเข้าสู่จิตใต้สำนึกได้อย่างเต็มที่ 
 
ในการสะกดจิตเรามุ่งให้ผู้รับการสะกดจิตสนใจรับรู้เพียงเฉพาะเสียงที่ได้ยินจากนักสะกดจิต
โดยผู้ถูกสะกดจิตจะต้องกำหนดความคิด อารมณ์ และจิตนาการให้สอดคล้องไปกับเสียงที่กำลังได้ยิน 
อีกทั้งยังต้องการความผ่อนคลายทั้งจากสิ่งแวดล้อมและตัวตนของผู้เข้ารับการบำบัด 
สภาวะทั้ง 3 นี้จะทำให้ผู้รับการสะกดจิตค่อยๆ เข้าสู่ห้วงภวังค์ (ตัดขาดจากการรับรู้อื่นๆ) 
จนเกิดสภาวะการเรียนรู้ในระดับจิตใต้สำนึกลึกได้ 
สะกดจิต NLP การสะกดจิตคืออะไร Hypnosis และ Hypnotherapy สุขภาพจิต จิตใต้สำนึก การสะกดจิตและสะกดจิตบำบัด เอ็นแอลพี สะกดจิตบำบัด