หน้าที่ของผู้ถูกสะกดจิต

   


ระยะเวลาเกือบสิบปีที่ใช้ชีวิตเกี่ยวข้องกับเทคนิคสะกดจิตมานี้ คำถามยอดนิยมที่สำคัญประการหนึ่งที่มักได้รับจากผู้มารับการสะกดจิตบำบัดก็คือ
สะกดจิต NLP การสะกดจิตคืออะไร Hypnosis และ Hypnotherapy สุขภาพจิต จิตใต้สำนึก การสะกดจิตและสะกดจิตบำบัด เอ็นแอลพี สะกดจิตบำบัด
"ควรทำตัวอย่างไรในระหว่างการสะกดจิตบำบัด"
สะกดจิต NLP การสะกดจิตคืออะไร Hypnosis และ Hypnotherapy สุขภาพจิต จิตใต้สำนึก การสะกดจิตและสะกดจิตบำบัด เอ็นแอลพี สะกดจิตบำบัด
คำตอบสำหรับเรื่องนี้เราอาจจะตอบโดยแยกออกได้เป็นสองทางด้วยกัน
สะกดจิต NLP การสะกดจิตคืออะไร Hypnosis และ Hypnotherapy สุขภาพจิต จิตใต้สำนึก การสะกดจิตและสะกดจิตบำบัด เอ็นแอลพี สะกดจิตบำบัด
ทางแรกคือทางกายภาพ ซึ่งจะตอบได้ว่าผู้เข้ารับการสะกดจิตบำบัดมีหน้าที่เพียงแค่ นอนลง หลับตา และตั้งใจฟังในสิ่งที่นักสะกดจิตจะบรรยายให้ฟังไปเรื่อยๆ จนกว่ากระบวนการสะกดจิตจะเสร็จสิ้น โดยในระหว่างที่กำลังทำการสะกดจิตอยู่นั้นระหว่างผู้ถูกสะกดจิตและนักสะกดจิตก็จะไม่มีการพูดคุยหรือเจรจาโต้ตอบอะไรกันอีก (ไม่ว่าจะเป็นการถามคำถาม เล่าเรื่อง หรืออะไรก็ตาม) โดยผู้ถูกสะกดจิตจะต้องนอนฟังไปเงียบๆ อย่างนี้จนกว่าจะเสร็จสิ้นกระบวนการ โดยนักสะกดจิตจะมีคำสั่งปลุกหรือเรียกให้ลืมตาตื่นขึ้นในส่วนท้ายสุดของกระบวนการทุกครั้ง
สะกดจิต NLP การสะกดจิตคืออะไร Hypnosis และ Hypnotherapy สุขภาพจิต จิตใต้สำนึก การสะกดจิตและสะกดจิตบำบัด เอ็นแอลพี สะกดจิตบำบัด
และในทางต่อมาอีกทางหนึ่ง ก็คือทางจิตใจ ซึ่งเป็นเรื่องของความรู้สึกนึกคิดของผู้ถูกสะกดจิต
สะกดจิต NLP การสะกดจิตคืออะไร Hypnosis และ Hypnotherapy สุขภาพจิต จิตใต้สำนึก การสะกดจิตและสะกดจิตบำบัด เอ็นแอลพี สะกดจิตบำบัด
ในระหว่างที่ตนเองกำลังถูกสะกดจิตอยู่ ในส่วนนี้จะมีหน้าที่หรือองค์ประกอบที่มีความสำคัญอย่างยิ่งต่อกระบวนการสะกดจิตก็คือ
สะกดจิต NLP การสะกดจิตคืออะไร Hypnosis และ Hypnotherapy สุขภาพจิต จิตใต้สำนึก การสะกดจิตและสะกดจิตบำบัด เอ็นแอลพี สะกดจิตบำบัด
1. การเปิดใจยอมรับ หรือการเป็นผู้ฟังที่ดี โดยพยายามควบคุมความคิดของตัวเองในขณะรับการสะกดจิตที่จะไม่ต่อต้าน โต้แย้ง โต้เถียง ตั้งคำถาม หรืออะไรก็ตามที่จะเป็นการปิดกั้นต่อสิ่งที่กำลังรับฟังอยู่จากนักสะกดจิต
สะกดจิต NLP การสะกดจิตคืออะไร Hypnosis และ Hypnotherapy สุขภาพจิต จิตใต้สำนึก การสะกดจิตและสะกดจิตบำบัด เอ็นแอลพี สะกดจิตบำบัด
2. การคล้อยตามสิ่งที่รับรู้ เช่นการกำหนดความคิด กำหนดจินตนาการ ความรู้สึก หรือสวมบทบาทคล้อยตามไปกับสิ่งที่กำลังได้ยินอยู่จากนักสะกดจิต
สะกดจิต NLP การสะกดจิตคืออะไร Hypnosis และ Hypnotherapy สุขภาพจิต จิตใต้สำนึก การสะกดจิตและสะกดจิตบำบัด เอ็นแอลพี สะกดจิตบำบัด
3. ความรู้สึกผ่อนคลาย สบายๆ ไม่พยายามทำอะไรจนมากจนเกินไป (เช่นพยายามคิดหรือจินตนาการจนเกิดความเครียดขึ้นมา)
 
หน้าที่ทั้ง 3 ข้อนี้เป็นเงื่อนไขสำคัญที่ผู้รับการสะกดจิตจะต้องยินดีปฏิบัติอย่างเต็มที่ จะขาดข้อหนึ่งข้อใดไปไม่ได้ นักสะกดจิตเปรียบ 3 ข้อนี้เสมือนดั่งส่วนผสมของอาหาร ที่จะมาผสมกันเป็นเมนูที่เรียกว่า Hypnosis
สะกดจิต NLP การสะกดจิตคืออะไร Hypnosis และ Hypnotherapy สุขภาพจิต จิตใต้สำนึก การสะกดจิตและสะกดจิตบำบัด เอ็นแอลพี สะกดจิตบำบัด
ทั้งนี้หากขาดไปตัวใดตัวหนึ่ง กระบวนสะกดจิตก็จะไม่สามารถขับเคลื่อนต่อไปได้
สะกดจิต NLP การสะกดจิตคืออะไร Hypnosis และ Hypnotherapy สุขภาพจิต จิตใต้สำนึก การสะกดจิตและสะกดจิตบำบัด เอ็นแอลพี สะกดจิตบำบัด