สะกดจิต การสะกดจิต และ สุขภาพจิต จิตใต้สำนึก NLP ความสุข จิตบำบัด ให้คำปรักษา สะกดจิต การสะกดจิต และ เอ็นแอลพี Hypnosis และ Hypnotherapy 

บริการให้คำปรึกษาในระดับจิตใต้สำนึก เพื่อแก้ไขปัญหาชีวิต ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

อารมณ์ และบุคลิกภาพ เพิ่มความมั่นใจ ลดความเครียด คิดมาก นอนไม่หลับ สะกดจิต 

เพิ่มศักยภาพการทำงาน ลดความอ้วน (ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกินและออกกำลังกาย)

เพิ่มสมาธิ ด้วยเทคนิคการสะกดจิตบำบัด (Hypnotherapy) และ NLP

โดยนักจิตวิทยาการให้ปรึกษาผู้มีประสบการณ์มากว่า 10 ปี สะกดจิต 

สะกดจิต การสะกดจิต และ สุขภาพจิต จิตใต้สำนึก NLP ความสุข จิตบำบัด ให้คำปรักษา สะกดจิต การสะกดจิต และ เอ็นแอลพี Hypnosis และ Hypnotherapy 

สะกดจิต  " การสะกดจิตบำบัด (Hypnosis) โดยเนื้อแท้แล้วคือการสื่อสาร " สะกดจิต 

สะกดจิต การสะกดจิต และ สุขภาพจิต จิตใต้สำนึก NLP ความสุข จิตบำบัด ให้คำปรักษา สะกดจิต การสะกดจิต และ เอ็นแอลพี Hypnosis และ Hypnotherapy 

การสะกดจิตจึงไม่ใช่ไสยศาสตร์ หรือพลังเหนือธรรมชาติใดๆ สะกดจิต 
หากแต่การสะกดจิตบำบัดเป็นวิทยาศาสตร์ที่รวมเอาความรู้ทางด้านจิตวิทยาและภาษาศาสตร์เข้าไว้ด้วยกัน 
เพื่อสร้างการช่วงเวลาที่เหมาะ ในการให้คำแนะนำที่สร้างสรรค์ลงไปสู่จิตใต้สำนึก สะกดจิต  
เพื่อทำให้เกิดผลลัพธ์ที่สร้างสรรค์บางอย่างขึ้นมา ตามที่ผู้เข้ารับการสักดจิตบำบัดต้องการอย่างแท้จริง
สะกดจิต การสะกดจิต และ
สะสะกดจิต การสะกดจิต และ สุขภาพจิต จิตใต้สำนึก NLP ความสุข จิตบำบัด ให้คำปรักษา สะกดจิต การสะกดจิต และ เอ็นแอลพี Hypnosis และ Hypnotherapy 
สะกดจิต การสะกดจิต และ สุขภาพจิต จิตใต้สำนึก NLP ความสุข จิตบำบัด ให้คำปรักษา สะกดจิต การสะกดจิต และ เอ็นแอลพี Hypnosis และ Hypnotherapy 
 

บริการให้คำปรึกษา
และสะกดจิตด้วยเทคนิค NLP

feedback

ติดต่อเรา

 


April 24, 2017
เส้นชัยและพลัง 1000 แรงม้า
ถ้าเปรียบความสำเร็จของชีวิตมนุษย์เป็นรถแข่งที่วิ่งเข้าเส้นชัยแล้วล่ะก็ .... ไม่ว่าชีวิตของเราจะมาแรงวิ่งดีเป็นรถแข่งเครื่องยนต์ 1000 แรงม้า วิ่งทะยานไปข้างหน้าแซงแล้วแซงอีก มันก็ไม่ได้ประโยชน์อะไรเลยครับตราบเท่าเรายังไม่รู้ว่า “เส้นชัยของเราอยู่ที่ไหน”


April 24, 2017
ความเป็นมาของการสะกดจิต
คำว่า “สะกดจิต” มาจาก Hypnosis โดยคำว่า Hypnosis นี้มาจากคำว่า Hypnos ซึ่งเป็นชื่อเทพเจ้าของกรีกองค์หนึ่งที่เป็นเทพแห่งการนอนหลับ เมื่อกล่าวถึงความเป็นมาของการสะกดจิตก็มักจะต้องกล่าวถึงชายชาวออสเตรียที่ชื่อว่า “เมสเมอร์” เป็นจุดเริ่มต้น : สะกดจิต / สะกดจิตบำบัด / เอ็นแอลพี / Hypnosis / Hypnotherapy / จิตใต้สำนึก


April 24, 2017
มีความเสี่ยงหรือไม่ในการสะกดจิต
การสะกดจิตไม่สามารถทำให้อันตราย เพราะโดยเนื้อแท้แล้วการสะกดจิตเป็นเรื่องของกระบวนการเรียนรู้ของจิตใต้สำนึก ซึ่งกระบวนการเหล่านี้เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นอยู่ตลอดเวลาตามธรรมชาติในชีวิตประจำวันของมนุษย์ทุกคนอยู่แล้ว แม้คนๆ นั้นจะไม่เชื่อถือเรื่องการสะกดจิตเลยก็ตาม : สะกดจิต / สะกดจิตบำบัด / เอ็นแอลพี / Hypnosis / Hypnotherapy / จิตใต้สำนึก


April 24, 2017
หน้าที่ของผู้ถูกสะกดจิต
ในแวดวงนักสะกดจิต ระยะเวลาเกือบสิบปีที่ใช้ชีวิตเกี่ยวข้องกับเทคนิคสะกดจิตมานี้ คำถามยอดนิยมที่สำคัญประการหนึ่งที่มักได้รับจากผู้มารับการสะกดจิตบำบัดก็คือ "ควรทำตัวอย่างไรในระหว่างการสะกดจิตบำบัด" เพื่อให้การสะกดจิตเกิดผลสูงสุด : สะกดจิต / สะกดจิตบำบัด / เอ็นแอลพี / Hypnosis / Hypnotherapy / จิตใต้สำนึก


April 24, 2017
ปัจจัยความสำเร็จของการสะกดจิต
ความสำเร็จ ของการสะกดจิตเกี่ยวข้องกับอะไร ทำไมผู้เข้ารับการสะกดจิตบำบัดแต่ละคนจึงได้รับผลลัพธ์ที่แตกต่างกัน? ทำบางคนก็ได้รับที่ผลรวดเร็วเพียงการสะกดจิตไม่กี่ครั้ง? ทั้งหลายทั้งปวงเหล่านี้ขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง? เรื่องนี้เรามีคำตอบ : สะกดจิต / สะกดจิตบำบัด / เอ็นแอลพี / Hypnosis / Hypnotherapy / จิตใต้สำนึก


April 24, 2017
ความเบี่ยงเบนทางเพศกับการสะกดจิต
จากงานสะกดจิตบำบัดที่ทำอยู่ทุกวัน มีผู้คนจำนวนมากติดต่อขอเข้ารับกระบวนการสะกดจิตบำบัดด้วยปัญหาที่เกี่ยวกับ "ความเบี่ยงเบนทางเพศ" หลายคนสับสนในรสนิยมทางเพศของตนเอง และต้องการที่จะปรับเปลี่ยนมันให้เป็นในทิศทางที่เขาคิดว่ามันถูกต้องต่อสังคมด้วยวิธีการสะกดจิตบำบัด ... ในแง่มุมของนักสะกดจิต เราคิดอย่างไร? เราควรมีทางออกกำเรื่องนี้อย่างไร? : สะกดจิต / สะกดจิตบำบัด / เอ็นแอลพี / Hypnosis / Hypnotherapy / จิตใต้สำนึก

 


September 19, 2021
เราต้องทำอะไรบ้างในกระบวนการสะกดจิตบำบัด?
คำถามอมตะอย่างหนึ่งก็คือ "ผู้เข้ารับการบำบัดต้องทำอะไรบ้างในกระบวนการสะกดจิตบำบัด?" ... ขออธิบายอย่างนี้ว่า การสะกดจิตบำบัดนั้นมีหัวใจสำคัญที่สุดคือการทำให้จิตใต้สำนึกเกิด "การเรียน" ข้อรู้ข้อมูลชุดหนึ่ง เพื่อทำให้เกิดผลลัพธ์หรือความเปลี่ยนแปลงบางอย่างขึ้นมาตามทิศทางที่เราต้องการ


March 17, 2021
การสะกดจิตบำบัดในทัศนคติของผู้เชี่ยวชาญ
เรียบเรียงจากบทความ Is Hypnosis Real? Here's What Science Says นิตยสาร TIME : AUGUST 29, 2018


October 26, 2020
การรับฟัง
คนส่วนใหญ่มักจะไม่ฟังด้วยความพร้อมที่จะเข้าใจคู่สนทนา แต่จะฟังด้วยความเคยชินและความพร้อมที่จะตอบโต้กลับ คือถ้าไม่ได้กำลังพูดก็เตรียมที่จะพูดเสียเอง พวกเขามักกลั่นกรองทุกถ้อยคำที่ได้ยินโดยอาศัยกรอบความคิดของตนเอง ใช้ชีวประวัติของตนเองในการตัดสินชีวิตของผู้อื่น


April 24, 2020
ฮิปโปแคมปัส
"ฮิปโปแคมปัส" (Hippocampus) คือต่อมอย่างหนึ่งในสมองของเรา มันมีหน้าที่ในการจัดการกับการความทรงจำระยะยาวต่างๆ และรูปแบบการนำทางในเชิงพื้นที่ นอกจากนี้ยังรวมไปถึงการมีส่วนเกี่ยวข้องในการสร้างเซลล์ประสาทใหม่ๆ อีกด้วย


April 24, 2020
ความทรงจำกับ NLP ตอนที่ 2
เมื่อวานได้เขียนถึงเรื่องการแก้ไขข้อมูลต่างๆในสมองเพื่อแก้ปัญหาชีวิตบางอย่าง ก็เขียนเสียดิบดีแล้วก็ตัดจบเสียอย่างนั้น วันนี้ก็เลยว่าจะมาเขียนต่อให้มันจบ ...เทคนิคการเปลี่ยนแปลงข้อมูลที่เป็นประสบการณ์นั้นเรียกว่าการทำ “รีเฟรมมิ่ง”(Reframing)


April 24, 2020
ความทรงจำกับ NLP ตอนที่ 1
ทัศนคติเกี่ยว "ความทรงจำ" ของ NLP อาจเป็นอะไรที่ประหลาดซักหน่อยในความรู้สึกของคนทั่วไป โดยเบื้องต้น NLP มองว่าความทรงจำ(หรือก็คือประสบการณ์ในชีวิต)ทั้งหลายคือผู้ชักใยอยู่เบื้องหลังชีวิตของผู้คน


April 24, 2020
การสำนึกผิด
การสำนึกผิดเป็นกลไกสำคัญอย่างหนึ่งภายในจิตใจของเรา มันเป็นการสื่อสารที่แสดงออกมาจากจิตใต้สำนึกเพื่อบอกแก่จิตรู้สึก(ตัวเรา)ว่าฉันจะไม่ทำผิดซ้ำอย่างนั้นอีกเด็ดขาด หรืออย่างน้อยก็กำลังบอกว่าฉันก็เป็นคนดีกว่านี้อย่างแน่นอน


April 24, 2020
พลังของความยืดหยุ่น
คนส่วนมากอาจคิดว่าความยืดหยุ่นทำให้กฏเกณฑ์ทั้งหลายเสื่อมคลายประสิทธิภาพลง แต่เปล่าเลย ความจริงแล้วความยืดหยุ่นกลับเป็นสิ่งที่ช่วยทำให้กฏเกณฑ์ทั้งหลายเพิ่มประสิทธิภาพสูงมากยิ่งขึ้น


April 24, 2020
ภวังค์การสะกดจิต
โดยหลักการทั่วไปแล้ว “ภวังค์” (Trance) ยึ่งลึก ระบบประสาทการรับรู้ก็ยิ่งตัดขาดจากโลกภายนอกมากขึ้นเรื่อยๆทเรื่องนี้อาจฟังแล้วเหนือธรรมชาติซักหน่อยสำหรับคนที่ไม่เข้าใจ แต่ความจริงแล้วมันก็เป็นสิ่งที่เกิดอยู่บ่อยๆ ในชีวิตประจำวันของเรา


March 28, 2020
สะกดจิตลบความทรงจำ?
สมมุติว่าในโลกนี้เกิดมีวิธีการอะไรบางอย่างที่จะทำให้คนเราสามารถ “ลืม” เหตุการณ์ที่เจ็บปวดได้ชนิดที่เรียกว่าราวกับไม่เคยเกิดเหตุการณ์นี้มาก่อนเลย ฟังดูเข้าท่าดีใช่มั๊ยครับ ก็แค่ทำอะไรซักอย่างเพื่อให้เรื่องแย่ๆ พวกนี้หายไปจากความทรงจำของเรา แต่เชื่อเถอะครับว่ามันเป็นอะไรที่ไม่เข้าท่าเอาเสียเลย


March 05, 2020
Sensory Awareness
นั่งคิดอยู่นานสองนานว่าจะอธิบายเรื่อง “Sensory Awareness”อย่างไรดีให้เข้าใจง่ายที่สุด ก็พอดีมาเจอเข้ากับคำท่านกฤษณมูรติ ที่ว่า “ความสามารถในการสังเกต โดยไม่ตัดสินประเมินค่า คือปัญญาขั้นสูงสุด” นี่แหละคือ “Sensory Awareness” ที่ NLP มักกล่าวถึง


February 28, 2020
การทดลองของ Natalia Taylor
เรื่องมันมีอยู่ว่า Natalia Taylor ยูทูปเบอร์สาวชื่อดังรายหนึ่งเกิดนึกเฮี้ยนอะไรไม่ทราบจึงทดลองว่า follower (ผู้ติดตาม) ของนางจะเชื่อทุกอย่างที่นางโพสต์มั้ย?

 


September 15, 2018
George Kelly การบำบัดจิต
นักบำบัดควรตีความบทบาทของตัวเองอย่างกว้าง ๆ ถ้าผู้ป่วยเห็นว่าการบำบัดมีการปรับเปลี่ยนเล็กน้อยเท่านั้น ผู้บำบัดก็ควรเริ่มจากข้อคิดวงแคบ ๆ เพื่อให้คนไข้เริ่มเห็นความจำเป็นที่จะต้องเปลี่ยนแปลงอย่างจริงจัง


September 15, 2018
George Kelly Personality Development
Kelly คิดว่าการที่คนมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมทำให้เกิดการเติบโตส่วนบุคคล หรือ personal growth โดยที่มนุษย์จะคิดโดยคิดอย่างเฉพาะตัวและเป็นระบบ แล้วจึงใช้ความคิดเหล่านี้ไปคาดการณ์เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นรอบ ๆ ตัว


September 15, 2018
George Kelly: The Fundamental Postulate and Its Corollaries
สมมติฐานขั้นพื้นฐานของทฤษฎีของ Kelly คือ "กระบวนการความคิดของคนถูกวางแนวโดยจิตใตด้วยวิธีที่เขาคาดการณ์เกี่ยวกับเหตุการณ์" เพราะว่ามนุษย์เป็นสิ่งมีชีวิตที่มีการกระทำและมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา


September 15, 2018
George Kelly: คุณลักษณะของ Constructs
ความคิด (Construct) นั้นแบ่งออกเป็น 6 ประเภทได้แก่


September 15, 2018
George Kelly Introduction
สิ่งที่ทำให้ George A. Kelly ต่างจากนักจิตวิทยามนุษยนิยมคนอื่น ๆ ก็คือ Kelly เชื่อมโยงความเป็นมนุษย์เข้ากับวิทยาศาสตร์ Kelly ไม่ได้มองพฤติกรรมทางวิทยาศาสตร์ในฐานะที่ไม่เป็นธรรมชาติ แต่เขาเชื่อว่าธรรมชาติของมนุษย์คือต้องการที่จะ "ทำนาย" และ "ควบคุม" เหตุการณ์ต่าง ๆ ที่ตนเข้าไปเกี่ยวข้องเหมือนที่นักวิทยาศาสตร์ทำ


September 11, 2018
Alfred Adler บุคลิกสี่ประเภท
Adlerได้ใช้วิธีการแบ่งประเภทของคนที่เข้าใจง่ายเกี่ยวกับบุคคลิกที่มีสุขภาพจิตดีและบุคคลิกที่มีสุขภาพจิตไม่ดี เขาจำแนกประเภทของบุคลิกด้วยความลังเลใจ เพราะเขาไม่ได้นึกถึงมนุษย์ในฐานะที่เป็นประเภท


September 11, 2018
Alfred Adler พัฒนาการของวิถีชีวิตที่สร้างสรรค์
ตามความคิดของ Adler บุคคลที่มีสุขภาพจิตที่ดี คือ บุคคลที่พ่อแม่เลี้ยงดูด้วยการให้เกียรติลูกและเข้าใจลูก


September 11, 2018
Alfred Adler รากฐานของโรคประสาท
การพัวพันระหว่างประสบการณ์ในครอบครัวและการตีความของบุคคลนั้นทำให้เกิดเป้าหมายที่ชี้ทางและวิถีชีวิตพิเศษ


September 11, 2018
Alfred Adler ลำดับการเกิด (Birth Order)
dler เชื่อว่าพ่อแม่ปฏิบัติต่อลูกแต่ละคนไม่เหมือนกัน และการปฏิบัติดังกล่าวมีส่วนข้องเกี่ยวกับลำดับการเกิดของลูกในครอบครัวนั้น ๆ


September 07, 2018
Alfred Adler อิทธิพลของพ่อแม่
Adler มีความเชื่อว่าทั้งพ่อและแม่มีบทบาทที่สำคัญมากในการส่งเสริมหรือบั่นทอนการพัฒนาการวิถีชีวิตของลูก พ่อแม่จะต้องฟูมฟักรักลูกทำให้ลูกรู้เรื่องการงาน มิตรภาพ และความรัก


September 07, 2018
Alfred Adler วิถีชีวิตและตัวตนที่สร้างสรรค์
ตามทฤษฎีของ Adler มี 2 ประเด็นซึ่งเกี่ยวโยงกัน ประเด็นแรกคือ วิถีชีวิต The Style of Life แต่เดิมเขาเรียกความคิดนี้ว่า life plan or guiding image


September 07, 2018
Alfred Adler ปมด้อย-ปมเด่น
Adlerได้สังเกตเห็นในขณะที่เป็นแพทย์อยู่ว่าคนพิการมักจะพยายามฝึกฝนตัวเองเป็นอย่างมาก ยกตัวอย่างเช่น เด็กหญิงที่พูดไม่ชัดอาจจะฝึกพูดอย่างหนักจนกระทั่งวันหนึ่งได้เป็นโฆษกระดับชาติ

 


September 19, 2021
เราต้องทำอะไรบ้างในกระบวนการสะกดจิตบำบัด?
คำถามอมตะอย่างหนึ่งก็คือ "ผู้เข้ารับการบำบัดต้องทำอะไรบ้างในกระบวนการสะกดจิตบำบัด?" ... ขออธิบายอย่างนี้ว่า การสะกดจิตบำบัดนั้นมีหัวใจสำคัญที่สุดคือการทำให้จิตใต้สำนึกเกิด "การเรียน" ข้อรู้ข้อมูลชุดหนึ่ง เพื่อทำให้เกิดผลลัพธ์หรือความเปลี่ยนแปลงบางอย่างขึ้นมาตามทิศทางที่เราต้องการ


March 17, 2021
การสะกดจิตบำบัดในทัศนคติของผู้เชี่ยวชาญ
เรียบเรียงจากบทความ Is Hypnosis Real? Here's What Science Says นิตยสาร TIME : AUGUST 29, 2018


April 24, 2020
ภวังค์การสะกดจิต
โดยหลักการทั่วไปแล้ว “ภวังค์” (Trance) ยึ่งลึก ระบบประสาทการรับรู้ก็ยิ่งตัดขาดจากโลกภายนอกมากขึ้นเรื่อยๆทเรื่องนี้อาจฟังแล้วเหนือธรรมชาติซักหน่อยสำหรับคนที่ไม่เข้าใจ แต่ความจริงแล้วมันก็เป็นสิ่งที่เกิดอยู่บ่อยๆ ในชีวิตประจำวันของเรา


March 28, 2020
สะกดจิตลบความทรงจำ?
สมมุติว่าในโลกนี้เกิดมีวิธีการอะไรบางอย่างที่จะทำให้คนเราสามารถ “ลืม” เหตุการณ์ที่เจ็บปวดได้ชนิดที่เรียกว่าราวกับไม่เคยเกิดเหตุการณ์นี้มาก่อนเลย ฟังดูเข้าท่าดีใช่มั๊ยครับ ก็แค่ทำอะไรซักอย่างเพื่อให้เรื่องแย่ๆ พวกนี้หายไปจากความทรงจำของเรา แต่เชื่อเถอะครับว่ามันเป็นอะไรที่ไม่เข้าท่าเอาเสียเลย


August 08, 2019
จิตอ่อนจิตแข็ง
สมัยที่ยังสอนเทคนิคสะกดจิตบำบัดอยู่ คำถามหนึ่ง ซึ่งมักจะถูกถามขึ้นเป็นประจำในห้องเรียนก็คือเรื่องของ “จิตอ่อน” และ “จิตแข็ง”


July 21, 2019
ความสำเร็จของการสะกดจิตบำบัด
ช่วงสัปดาห์ผ่านมานี้ได้เจอผู้เข้ารับการบำบัดเป็นคุณน้าคนหนึ่ง ปัญหาคือทานอาหารไม่ได้มา 3 ปีแล้ว การบำบัดผ่านไป 2 ครั้ง มาวันนี้คุณน้ายิ้มออก บอกว่าเริ่มอยากกินนี่อยากกินนั่น .... ทำไม? :)


April 12, 2019
สมองของเราเปรียบเสมือนกับโอ่งวิเศษ
สมองของเราเปรียบเสมือนกับ “โอ่งวิเศษ” สามารถเติมน้ำเข้าไปได้เรื่อยๆ อย่างไม่มีวันเต็ม แต่ไม่สามารถเอาน้ำเดิมที่มีอยู่ในโอ่งออกมาได้


April 12, 2019
ทำไมจึงเรียกว่า Neuro-Hypnosis
ทำไมตำราสมัยใหม่จึงเรียกการสะกดจิต(hypnosis) ว่า Neuro-Hypnosis


April 12, 2019
พลังของจินตนาการ
การคิดแบบวิเคราะห์นั้นจะเกิดขึ้นในสมองซีกซ้ายเป็นส่วนใหญ่ ส่วนการนึกภาพที่สร้างสรรค์หรือการสร้างจินตภาพ จะเป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นในสมองซีกขวา ซึ่งประกอบด้วยการใช้สายตา การฟัง และการดมกลิ่น รวมทั้งความจำ ความรู้สึก และอารมณ์


March 07, 2019
เคล็ดลับง่่ายๆ ของการสะกดจิตตัวเอง
นช่วงปี 1910 ชาร์ล โบดัล นักจิตวิทยาและผู้อำนวยการสถาบันนิวนงซี สคูล ประเทศฝรั่งเศส ได้แนะนำวิธีที่ดีที่สุดในการสร้างความประทับใจให้กับจิตใต้สำนึกด้วยการเข้าสู่ภวังค์


March 02, 2019
ท้องผูก
ข้อเท็จจริงที่สำคัญประการหนึ่งเกี่ยวกับอาการท้องผูกก็คือ “ความเครียด”


January 07, 2019
ความวิตกกังวล
“ความวิตกกังวล” กับ “ความรอบคอบ” สองอย่างนี้ดูเหมือนว่าจะมีความใกล้เคียงกันอยู่มาก จนชวนให้สับสนว่าสิ่งที่ฉันกำลังเป็นอยู่นี้มันคืออะไรกันแน่ มันมีความแตกต่างกันอย่างไร

 


October 26, 2020
การรับฟัง
คนส่วนใหญ่มักจะไม่ฟังด้วยความพร้อมที่จะเข้าใจคู่สนทนา แต่จะฟังด้วยความเคยชินและความพร้อมที่จะตอบโต้กลับ คือถ้าไม่ได้กำลังพูดก็เตรียมที่จะพูดเสียเอง พวกเขามักกลั่นกรองทุกถ้อยคำที่ได้ยินโดยอาศัยกรอบความคิดของตนเอง ใช้ชีวประวัติของตนเองในการตัดสินชีวิตของผู้อื่น


April 24, 2020
ความทรงจำกับ NLP ตอนที่ 2
เมื่อวานได้เขียนถึงเรื่องการแก้ไขข้อมูลต่างๆในสมองเพื่อแก้ปัญหาชีวิตบางอย่าง ก็เขียนเสียดิบดีแล้วก็ตัดจบเสียอย่างนั้น วันนี้ก็เลยว่าจะมาเขียนต่อให้มันจบ ...เทคนิคการเปลี่ยนแปลงข้อมูลที่เป็นประสบการณ์นั้นเรียกว่าการทำ “รีเฟรมมิ่ง”(Reframing)


April 24, 2020
ความทรงจำกับ NLP ตอนที่ 1
ทัศนคติเกี่ยว "ความทรงจำ" ของ NLP อาจเป็นอะไรที่ประหลาดซักหน่อยในความรู้สึกของคนทั่วไป โดยเบื้องต้น NLP มองว่าความทรงจำ(หรือก็คือประสบการณ์ในชีวิต)ทั้งหลายคือผู้ชักใยอยู่เบื้องหลังชีวิตของผู้คน


April 24, 2020
การสำนึกผิด
การสำนึกผิดเป็นกลไกสำคัญอย่างหนึ่งภายในจิตใจของเรา มันเป็นการสื่อสารที่แสดงออกมาจากจิตใต้สำนึกเพื่อบอกแก่จิตรู้สึก(ตัวเรา)ว่าฉันจะไม่ทำผิดซ้ำอย่างนั้นอีกเด็ดขาด หรืออย่างน้อยก็กำลังบอกว่าฉันก็เป็นคนดีกว่านี้อย่างแน่นอน


April 24, 2020
พลังของความยืดหยุ่น
คนส่วนมากอาจคิดว่าความยืดหยุ่นทำให้กฏเกณฑ์ทั้งหลายเสื่อมคลายประสิทธิภาพลง แต่เปล่าเลย ความจริงแล้วความยืดหยุ่นกลับเป็นสิ่งที่ช่วยทำให้กฏเกณฑ์ทั้งหลายเพิ่มประสิทธิภาพสูงมากยิ่งขึ้น


March 05, 2020
Sensory Awareness
นั่งคิดอยู่นานสองนานว่าจะอธิบายเรื่อง “Sensory Awareness”อย่างไรดีให้เข้าใจง่ายที่สุด ก็พอดีมาเจอเข้ากับคำท่านกฤษณมูรติ ที่ว่า “ความสามารถในการสังเกต โดยไม่ตัดสินประเมินค่า คือปัญญาขั้นสูงสุด” นี่แหละคือ “Sensory Awareness” ที่ NLP มักกล่าวถึง


February 28, 2020
การทดลองของ Natalia Taylor
เรื่องมันมีอยู่ว่า Natalia Taylor ยูทูปเบอร์สาวชื่อดังรายหนึ่งเกิดนึกเฮี้ยนอะไรไม่ทราบจึงทดลองว่า follower (ผู้ติดตาม) ของนางจะเชื่อทุกอย่างที่นางโพสต์มั้ย?


February 27, 2020
อาวุธวิเศษ 4 ประการ
อาววุธวิเศษมี 4 ประการ หากผู้ใดมีไว้ครอบครองจะช่วยทำให้ใครสักคนสามารถได้รับกลับการประสบความสำเร็จสมดังความตั้งใจ


July 21, 2019
อย่าเขินอายที่จะจินตนาการ
ลองนึกถึงช่วงเวลาก่อนที่สองพี่น้องตระกูลไรต์จะสร้างเครื่องบินลำแรกของโลกขึ้นมานะครับ ว่าพวกเขารู้อะไรบ้างเกี่ยวกับเครื่องบิน? ไม่มีหรอก สิ่งเดียวที่สองพี่น้องตระกูลไรท์มีก็คือสิ่งที่เรียกว่า “จินตนาการ” ท่านั้น


July 21, 2019
ทัศนคติเชิงบวก
ทัศนคติเชิงบวกคือปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความสำเร็จถึง 85% ส่วนอีก 15% ที่เหลือเป็นเรื่องของการศึกษา ชาติตระกูล รวมไปถึงรูปร่างหน้าตาว่าหล่อสวยด้วยกันขนาดไหน การมีทัศนคติในเชิงบวกจึงเป็นเรื่องที่สำคัญมาก


April 12, 2019
อรชุน เจ้ามองเห็นอะไร
เรียนที่สำคัญของราชกุมารก็คือการฝึกยิงธนูไปที่หุ่นไม้รูปนกที่ติดอยู่ตรงต้นไม้ใหญ่ โทรณาจารย์ชี้นิ้วไปยังเป้าหมาย สั่งให้เหล่าราชกุมารเล็งคันศรไปที่นั่น แล้วถามว่า “นั่นคือเป้าหมาย ขณะนี้พวกเจ้ามองเห็นอะไร?”


April 12, 2019
เป้าหมาย อาวุธ การเคลื่อนไหว
"เป้าหมาย" จะเป็นตัวกำหนด "อาวุธ" และ "อาวุธ" จะเป็นตัวกำหนด "การเคลื่อนไหว" อดีตเจ้าหน้าที่หน่วยซีล (SEAL) ได้กล่าวเอาไว้

 


April 24, 2020
ฮิปโปแคมปัส
"ฮิปโปแคมปัส" (Hippocampus) คือต่อมอย่างหนึ่งในสมองของเรา มันมีหน้าที่ในการจัดการกับการความทรงจำระยะยาวต่างๆ และรูปแบบการนำทางในเชิงพื้นที่ นอกจากนี้ยังรวมไปถึงการมีส่วนเกี่ยวข้องในการสร้างเซลล์ประสาทใหม่ๆ อีกด้วย


July 25, 2019
บางทีสมองก็ถูกร่างกายหลอกได้
ในช่วงปี 1974 ศาสตราจารย์สาขาจิตวิทยา 2 คนคือ โดนัล ดัตตัน และ อาเธอร์ แอรอน ได้สร้างการทดลองประหลาดๆ ขึ้นมา โดยกำหนดให้ผู้ดำเนินการทดลองสวมบทเป็นนักวิจัยการตลาดสาวไปอ่อยหนุ่มบนสะพาน!!!


July 24, 2019
ผ่อนลายซักนิด
ราสงบสติอารมณ์ ปล่อยวางจากปัญหา แล้วทางออกก็พลันสว่างวาบขึ้นมา ดังนั้นความผ่อนคลายจึงเป็นเรื่องที่สำคัญ และไม่ควรถูกมองข้ามไปเป็นอย่างยิ่ง การมีทักษะในการผ่อนคลายตนเอง จึงเป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่มีความสำคัญ


April 12, 2019
ข้ามลำธาร
หลวงจีนสองรูปเดินทางมาด้วยกัน จนมาพบกับลำธารเล็กๆ ที่ขวางอยู่เบื้องหน้า


March 18, 2019
หยุดพักซักนิด
มีข้อเท็จจริงที่น่าสนใจว่า ลูกจ้างที่สามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพยอดเยี่ยมนั้นจะมีอยู่ประมาณ 10% โดยคนในกลุ่มนี้ก็ไม่ได้ใช้เวลาในการทำงานนานกว่าคนอื่นเลย ดีไม่ดีจะใช้เวลาในการทำงานน้อยกว่าคนอื่นเสียด้วยซ้ำ


March 18, 2019
เรื่องของชาวประมงคนหนึ่ง
นึกถึงหนังจีนเรื่องนึงเคยดูตอนเด็กๆ .... เรื่องมีอยู่ว่า


March 18, 2019
เรามีสุนัขจิ้งจอกอยู่ 2 ตัวในจิตใจ
พวกเราทุกคนมีสุนัขจิ้งจอกอยู่ 2 ตัวในจิตใจ ได้แก่สุนัขจิ้งจอกแห่ง “ความรัก” และสุนัขจิ้งจอกแห่ง “ความเกลียดชัง” ทุกๆ อย่างในชีวิตก็ขึ้นอยู่กับว่าเราเลือกที่จะให้อาหารเลี้ยงดูเจ้าสุนัขจิ้งจอกตัวไหนมากกว่ากันในแต่ละวันเท่านั้นเอง


March 18, 2019
ความรักก็สำคัญ
ความรุนแรงในครอบครัว การขาดซึ่งความรักขาดความอบอุ่น มีผลโดยตรงต่อ “ขนาด” และ “ปริมาตร” ของเนื้อสมองของเด็ก


January 02, 2019
สมาธิพัฒนาสมอง
ศาสตราจารย์ริชาร์ด เดวิดสัน (Richard Davidson Ph.D) ได้ทำการศึกษาในพระทิเบตรูปหนึ่งชื่อ พระ ดร.แมทธิว ริคาร์ด ซึ่งฝึกสมาธิมาเป็นเวลา 20-30 ปี เมื่อตรวจด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ fMRI ก็พบว่า ...


January 02, 2019
พาราซิมพาเทติกพิชิตความเครียด
ความเครียดไม่ใช่เรื่องไร้สาระหรอกครับ ความจริงแล้วความเครียดคือสัญญาณเตือนภัยเพื่อช่วยให้ร่างกายเตรียมพร้อมต่อภัยอันตรายที่สมองคาดการณ์ว่ามันอาจจะเกิดขึ้นได้ในช่วงเวลาขณะนั้น มันมีประโยชน์ และมันก็ก่อให้เกิดปัญหา แต่อย่างไรก็ตาม ระบบประสาทของเรามีเครื่องมือในการจัดการกับความเครียดเหล่านี้


January 02, 2019
ยอดคุณแม่
กาลครั้งหนึ่งนานมากแล้ว มีคุณแม่คนหนึ่งโทรมาหาเราเพราะอยากจะพาลูกชายอายุ 13 เข้ามาบำบัดเรื่องเลิกยา ก็เลยต้องบอกกันไปตามระเบียบว่า "ถ้าเด็กไม่ได้อยากจะเลิกเองแล้วไปบังคับเขามา มันจะไม่ได้ผลนะคะ" คุณแม่ก็เข้าใจดี แล้วก็วางสายหายไป เวลาผ่านไปอีกกี่เดือนก็ไม่รู้คุณแม่คนเดิมก็โทรกลับมาบอกว่า ....


January 02, 2019
รากแก้วของการผัดวันประกันพรุ่ง
รากแก้วของการผัดวันประกันพรุ่งก็คือ "ความรู้สึกกลัวที่จะล้มเหลว" ดังนั้นแล้ว บางทีแล้วการเอาชนะความรู้สึกประเภท "ค่อยทำวันหลังก็ได้" มันจึงไม่ใช่เรื่องของการแสวงหาความขยันขันแข็งหรือแรงผลักดัน

CONTACT US

สนใจสอบถาม